การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน
- Share :
ขอบเขต
- ทุกบริษัทในกลุ่ม
- คู่ค้าและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดในห่วงโซ่อุปทานของกลุ่ม
- ดำเนินธุรกิจอย่างเป็นธรรม
- พัฒนาธุรกิจร่วมกันกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในห่วงโซ่อุปทาน เพื่อมุ่งสู่การเป็นธุรกิจที่ยั่งยืน
- จัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด เพื่อศึกษาและระบุความเสี่ยงทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นทั้งหมดในห่วงโซ่อุปทานของกิจการในเชิงลึก
- ระบุและจัดลำดับความสำคัญของคู่ค้า โดยเฉพาะคู่ค้าที่สำคัญที่ทำธุรกิจโดยตรงกับกลุ่มฯ (Critical Tier 1)
- จัดทำประเมินความเสี่ยงของคู่ค้าในทุกมิติ
- กำหนดกฏเกณฑ์เพิ่มเติมในการจัดซื้อจัดจ้างของกลุ่มฯ ให้พิจารณาถึงประเด็นด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
- จัดทำ Supplier Code of Conduct
- ทำการ On-site ESG Audit กับคู่ค้าของบริษัท
- ร่วมพัฒนาไปพร้อมกับคู่ค้า ให้มีการดำเนินธุรกิจแบบยั่งยืนร่วมกันทั้งการให้ความรู้ กำหนดนโยบายต่างๆ โครงการต่างๆ รวมถึงการจัดกิจกรรมร่วมกัน
- เตรียมกรอบงานในการประเมินคู่ค้าและกำหนดความเสี่ยง
- ร่างกฏเกณฑ์เพิ่มเติมในการจัดซื้อจัดจ้างของกลุ่มฯ
- วางแผน, ศึกษาและเตรียมความพร้อมในการร่าง Supplier Code of Conduct
กิจกรรมอื่นๆ
การกำกับดูแลกิจการและจรรยาบรรณธุรกิจ
- 28 พ.ย. 2567
- Economics & Governance
ดำเนินธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์ โปร่งใส และรับผิดชอบต่อสังคม ภายใต้หลักจริยธรรมทางธุรกิจที่สูงสุด เพื่อกำหนดหลักการพื้นฐานและแนวทางปฏิบัติที่พนักงานและผู้บริหารทุกคนต้องยึดถือ เพื่อรักษาความน่าเชื่อถือและความเชื่อมั่นของกลุ่มฯ
การต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่น
- 27 พ.ย. 2567
- Economics & Governance
มีนโยบายที่ชัดเจนในการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่นทุกประเภท และมุ่งมั่นจะเข้าเป็นสมาชิกของแนวร่วมต่อต้านคอร์รัปชันของภาคเอกชนไทย (Thai Private Sector Collective Action Against Corruption, “CAC”) ภายในปี 2025